ชัชฎา
พนักงานขาย
092-2494913
[email protected]
เศวตชัย
พนักงานขาย
081-3334986
[email protected]
โปรแกรมระบบขายสินค้า (VAN Sales or SmartSales) สำหรับคอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
SmartSales ซอฟต์แวร์ที่ใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์มือถือ (PDA) ในการขายสินค้าบนรถบรรทุกสินค้า (VAN) และรับการสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้า สามารถ พิมพ์ใบกำกับภาษี หรือใบส่งสินค้าให้กับลูกค้าได้ทันที รวมทั้งภารกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น ตรวจสอบประวัติการซื้อของลูกค้า การเก็บเงินค้างชำระ ระบบควบคุมสินค้าคงคลัง และการขอเบิกสินค้าระหว่างทางของพนักงานขาย ทำงานร่วมกับระบบระบุตำแหน่งพิกัดร้านค้าด้วยสัญญาณดาวเทียม (GPS )
Last Update : 06/05/2015 16:01:15
Handheld Computer or Mobile Computer (คอมพิวเตอร์มือถือ) คืออะไร
Handheld Computer อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มือถือ ใช้สำหรับพกพาสะดวก ง่ายต่อการใช้งาน หรือที่เรียกอีกอย่างว่า Personal Digital Assistant (PDA) โดยคอมพิวเตอร์มือถือสามารถป้อนข้อมูลลงเครื่องผ่านคีย์บอร์ดขนาดเล็ก ซึ่งมีระบบปฏิบัติการ Windows CE และ Windows Mobile เป็นระบบปฎิบัติการในการใช้งาน
Last Update : 06/05/2015 14:29:20
ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด Barcode Scanner 2
ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด Barcode Scanner ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด Barcode Scanner การเลือกใช้งานอุปกรณ์บาร์โค้ดเป็นเรื่องสำคัญในการทำงาน เพราะอุปกรณ์ทุกชิ้นจะมีข้อจำกัดในการใช้งาน เรามาทราบลักษณะรูปร่างของอุปกรณ์กันเลยค่ะ
Last Update : 31/03/2014 10:59:05
ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด Barcode Scanner
ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด Barcode Scanner การเลือกใช้งานอุปกรณ์บาร์โค้ดเป็นเรื่องสำคัญในการทำงาน เพราะอุปกรณ์ทุกชิ้นจะมีข้อจำกัดในการใช้งาน เรามาทราบลักษณะรูปร่างของอุปกรณ์กันเลยค่ะ
Last Update : 31/03/2014 10:52:42
DataBar : RSS (Reduced Space Symbology)
GS1 DataBar คือบาร์โค้ดอีกรูปแบบหนึ่งที่มีขนาดเล็ก และบันทึกข้อมูลได้มากกว่า บาร์โค้ดในรูปแบบ EAN/UPC ซึ่งในอดีตมีชื่อเรียกว่า RSS (Reduced Space Symbology) โดยบาร์โค้ด GS1 DataBar นี้สามารถบรรจุข้อมูลที่สามารถทำการสืบย้อนกลับที่มาของสินค้าได้ ซึ่งถือว่าเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ส่งออกสามารถจำหน่ายสินค้าไปยังประเทศที่ มีมาตรการด้านความปลอดภัยที่เข้มงวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Last Update : 31/03/2014 10:24:13
เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) AAA S30-2D Scanner
Brand : AAA
เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) AAA S30 ใช้เทคโนโลยีการประมวลผลภาพ 2D สามารถตอบสนองความต้องการของการสแกนสภาพของแอพพลิเคชันได้อย่างเหมาะสม ความหลากหลายของอินเตอร์เฟสรองรับอินเตอร์เฟซ Rs232 / USB, ประสิทธิภาพที่คงทนและโดดเด่น
Last Update : 16:48:13 19/10/2018
เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) AAA S20
Brand : AAA
Model : S20
เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) AAA S20 ใช้เทคโนโลยีการประมวลผลภาพ 2D สามารถตอบสนองความต้องการของการสแกนสภาพของแอพพลิเคชันได้อย่างเหมาะสม ความหลากหลายของอินเตอร์เฟสรองรับอินเตอร์เฟซ Rs232 / USB, ประสิทธิภาพที่คงทนและโดดเด่น
Last Update : 16:47:10 19/10/2018
เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) AAA S50 -2D Scanner
Brand : AAA
Model : S50
เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) AAA S50 ใช้เทคโนโลยีการประมวลผลภาพ 1D/2D สามารถตอบสนองความต้องการของการสแกนสภาพของแอพพลิเคชันได้อย่างเหมาะสม ประสิทธิภาพที่คงทนและโดดเด่น
Last Update : 10:51:25 18/10/2018
เครื่องพิมพ์ใบเสร็จ (Mobile Printer) Woosim WSP-i450
Brand : Woosim
Model : WSP-i450
เครื่องพิมพ์ใบเสร็จ (Portable Printer or Mobile Printer) จาก Woosim WSP-i450 มีขนาดกะทัดรัด คงทน และประสิทธิภาพในการพิมพ์สูง สามารถพิมพ์ได้กว้าง 4 นิ้ว
Last Update : 10:27:49 18/10/2018
เครื่องพิมพ์ใบเสร็จ (Mobile Printer) Woosim i350
Brand : Woosim
Model : i350
เครื่องพิมพ์ใบเสร็จ (Portable Printer or Mobile Printer) จาก Woosim i350 มีขนาดกะทัดรัด คงทน และประสิทธิภาพในการพิมพ์สูง สามารถพิมพ์ได้กว้าง 3 นิ้ว เหมาะสำหรับพกติดตัวในงานพิมพ์นอกสถานที่ ซึ่งใช้งานร่วมกับ Hand held PC, PDA, หรือ NoteBook
Last Update : 10:26:28 18/10/2018

ระบบของบาร์โค้ดที่ใช้สำหรับธุรกิจ

Last Update : 16:54:30 20/02/2014
Page View (2184)

ระบบของบาร์โค้ด

        การติดบาร์โค้ดของสินค้านั้นๆ โดยเฉพาะนอกจากจะคำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วในการทำงานขึ้นแล้ว ยังจะต้องคำนึงถึงการใช้มาตรฐานการกำหนดเลขหมายที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลกอีกด้วยปัจจุบันมาตรฐานที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก มีประมาณ 11 ระบบ

UPC [Uniform Product Code] ใช้เมื่อปี พ.ศ. -2515 ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา แบ่งออกเป็น 4 ประเภท

  1. แบบย่อมี 8 หลัก หรือเรียก UPC-E ใช้กับสินค้าที่มีข้อมูลน้อย
  2. แบบมาตรฐานมี 12 หลัก หรือเรียก UPC-A ซึ่งเป็นแบบที่นิยมใช้อยู่ทั่วไป
  3. แบบเพิ่มตัวเลข 2 หลัก หรือเรียก UPC-A+2 ในกรณีที่ UPC-A เก็บข้อมูลไม่พอ
  4. แบบเพิ่มตัวเลข 5 หลัก หรือเรียก UPC-A+5 เพื่อเพิ่มข้อมูลให้มากขึ้น

EAN [European Article Number] เริ่มใช้เมื่อปี พ.ศ.- 2519 แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้

  1. แบบย่อมี 8 หลัก หรือเรียก EAN-8 ใช้กับธุรกิจเล็ก มีข้อมูลไม่มาก
  2. แบบมาตรฐานมี 13 หลัก หรือเรียก EAN-13
  3. แบบเพิ่มตัวเลข 2 หลัก หรือเรียก EAN-13+12 เพื่อเพิ่มข้อมูล ถ้า EAN-13 บรรจุข้อมูลไม่หมด
  4. แบบเพิ่มตัวเลข 5 หลัก หรือเรียก EAN-13+5 เพื่อเพิ่มข้อมูลให้มากขึ้น

CODE 39 เริ่มใช้ในปี พ.ศ.-2517 ในธุรกิจอุตสาหกรรมเป็นบาร์โค้ดระบบแรกที่ใช้รวมกับตัวอักษรได้ เก็บข้อมูลได้มาก INTERLEAVE 1 of 5 หรือเรียกว่า ITF เป็นบาร์โค้ดตัวใหญ่ใช้กับหีบบรรจุสินค้า 
หรือเรียก Cass Code

  • CODABAR ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้กับธุรกิจเวชภัณฑ์ ในปี พ.ศ.-2515
  • CODE 128 ได้ถูกพัฒนาขึ้นและยอมรับว่าได้ใช้เป็นทางการในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2524 นิยมใช้ในวงการดีไซเนอร์และแฟชั่น ปัจจุบันกำลังเริ่มนิยมใช้ในสหรัฐอเมริกา
  • CODE 93 ได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ.- 2525 ปัจจุบันเริ่มนิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม
  • CODE 49 ได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2530 โดยพัฒนาจาก CODE 39 ให้บรรจุข้อมูลได้มากขึ้น ในพื้นที่เท่าเดิม
  • CODE 16k เหมาะสำหรับใช้กับอุตสาหกรรมผลิตสินค้าที่เล็กมาก มีพื้นที่ในการใสบาร์โค้ดน้อย เช่น อุปกรณ์อะไหล่ เครื่องไฟฟ้า
  • ISSN / ISBN [International Standard Book Number] ใช้กับหนังสือ และนิตยสาร
  • EAN / UCC 128 หรือ Shipping Container Code เป็นระบบใหม่ โดยการร่วมมือระหว่าง EAN ของยุโรป และ UCC ของสหรัฐอเมริกา โดยเอาระบบ EAN มาใช้ร่วมกับ CODE 128 เพื่อบอกรายละเอียดของสินค้ามากขึ้น เช่น วันเดือนปีที่ผลิต ครั้งที่ผลิต วันที่สั่งซื้อ มีกี่สี กี่ขนาด เป็นต้น

EAN ยอดฮิต

      ปัจจุบันมาตรฐานที่ยอมรับกันมากมีอยู่ 2 ระบบ คือ UPC และ EAN ระบบ UPC ถือเป็นบาร์โค้ดระบบแรกของโลก ใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาเท่านั้น มีหน่วยงาน Uniform Code Council [UCC] ตั้งอยู่ที่รัฐ OHIO ประเทศสหรัฐอเมริกาทำหน้าที่ดูแล

      ส่วนระบบ EAN เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลก โดยมีประเทศต่าง ๆ ใช้กว่า 60 ประเทศ ในภาคพื้นยุโรป, เอเชียและแปซิฟิก รวมทั้งประเทศไทย EAN มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยี่ยม
      สำหรับบาร์โค้ดในประเทศไทยเริ่มนำมาใช้อย่างจริงจังในปี พ.ศ.- 2536 โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย [Thai Article Numbering Council] หรือ "TANC" เป็นองค์กรตัวแทนของ EAN ภายใต้การดูแลของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ประเทศไทยเลือกใช้ระบบ EAN-13 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของเลขชุด 13 หลัก มีความหมายดังนี้

  • 885 - 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย
  • 1234 - 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต
  • 56789 - 5 ตัวถัดมา เป็นรหัสของสินค้า
  • 8 - ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลขตรวจสอบ เลข 12 ข้างหน้าว่ากำหนดถูกต้องหรือไม่ ถ้าตัวสุดท้ายผิดบาร์โค้ดตัวนั้นจะอ่านไม่ออก สื่อความหมายไม่ได้


ที่มา: สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

อ้างอิง : www.rbs.co.th



 
© 2000-2008 CopyRight by Retail Business Services Co., Ltd.
Tel. 0-2743-4595  Fax. 0-2743-4566  Website. anyworkanywhereanytime.com
disclaimer | privacy | contact us 

  Sale Login Warehouse Login Driver Login