เนตรนภา นิลวงศ์
ตัวแทนขายแผนกเครื่องมือห้องปฏิบัติการ
0982632799
[email protected]
นัททพล วรเจริญ
ผจก.แผนกเครื่องมือห้องปฎิบัติการ
0873115511
[email protected]
นาริสา นภากร
เจ้าหน้าที่ธุรการแผนกขาย
089-772-9108
[email protected]
ชุณหพล ระดิ่งหิน
หัวหน้าแผนกเทคนิค และบริการ
0836878781
[email protected]
เครื่องฟอกอากาศ กับ เชื้อไวรัส COVID-19 EP 1 : ดักจับแต่ไม่กำจัด
เนื่องด้วยสถานะการ การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ที่ยังคงพบการติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้หลายๆคนเริ่มมองหา อุปกรณ์หรือวิธี แนวทางการป้องกันต่างๆ เพื่อให้ปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าว
Last Update : 07/05/2021 14:16:52
ต้องใช้เครื่องฟอกแบบไหน ถึงจะปลอดภัยจาก ?เชื้อไวรัส COVID-19? ได้
เนื่องด้วยสถานะการ การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ที่ยังคงพบการติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้หลายๆคนเริ่มมองหา อุปกรณ์หรือวิธี แนวทางการป้องกันต่างๆ เพื่อให้ปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าว จึงมีคำถามหรือข้อสงสัยว่าอุปกรณ์ต่างๆที่ถูกผลิตออกมาเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ว่า ?สามารถป้องกันได้ จริงหรือ ?? และหนึ่งในอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่มีการตั้งคำถามกันมากพอสมควรคือ ?เครื่องฟอกอากาศ? สามารถป้องกันหรือลดการแพร่กระจายได้มากน้อยแค่ไหน
Last Update : 06/05/2021 11:30:14
Last Update : 31/07/2017 11:35:11
อันตรา !! 5 โรคฮิตคร่าชีวิตคนไทย
1.มะเร็ง: เฉลี่ยเสียชีวิตชั่วโมงละ 6 คน โรคมะเร็ง เป็นโรคร้ายอันดับหนึ่งครองแชมป์ติดต่อกันมา 5 ปีผู้เสียชีวิตประมาณปีละ 50,000 คน เฉลี่ยชั่วโมงละ 6 คน
Last Update : 28/10/2016 09:33:14
รู้ไหม..... Autoclave คืออะไร?
Autoclave หรือ เครื่องสำหรับนึ่งฆ่าเชื้อ โดยใช้กระบวนการฆ่าเชื้อด้วยไอน้ำร้อนและแรงดันสูง ทำให้ของที่ผ่านการนึ่งแล้วอยู่ในสภาพปราศจากเชื้อ
Last Update : 27/09/2016 08:47:18
เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อโรคด้วยแรงดันไอน้ำควบคุมด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์ ขนาด 45-117 ลิตร (Autoclave, Steam sterilizer)
Brand : ALP Japan
Model : CL- series (?32cm,?40cm)
รุ่น CL-32S/SDP(45L) รุ่น CL-32L/LDP(62L) รุ่น CL-40S/SDP(72L) รุ่น CL-40M/MDP(97L) รุ่น CL-40L/LDP(117L)
Last Update : 00:28:07 18/09/2022
เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อโรคด้วยแรงดันไอน้ำ ขนาดใหญ่ 96 ลิตร (Autoclave, Steam sterilizer)
Brand : ALP Japan
Model : MC-40
เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อโรคด้วยแรงดันไอน้ำขนาดใหญ่ 96 ลิตร อุณหภูมิใช้งานสูงสุดที่ 127 องสาเซลเซียส มีทั้งแบบระบบทำแห้ง และระบบที่ไม่ทำแห้ง ทนทานสุดๆ ใช้งายง่าย บริการโดยทีมงานที่มีประสบการณ์มาหลายสิบปี พร้อมอะไหล่แท้ ไม่ผิดหวัง
Last Update : 00:27:27 18/09/2022
เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อโรคด้วยแรงดันไอน้ำอัตโนมัติชนิดตั้งโต๊ะขนาด 12 ลิตร / 22 ลิตร (Autoclave, Steam sterilizer)
Brand : ALP Japan
Model : TR-Series
เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อโรคด้วแรงดันไอน้ำอัตโนมัติชนิดตั้งโต๊ะขนาด 12 - 22 ลิตร
Last Update : 00:26:18 18/09/2022
Autoclave 50 ลิตร
Brand : ALP JAPAN
Model : MC-30L
เครื่องนึ่งฆ่าเชื้อโรคด้วยแรงดันไอน้ำ รุ่น MC-30L และ MC-30DP(มีระบบทำแห้ง) เส้นผ่าศูนย์กลาง 40cm ความจุ 50 ลิตร
Last Update : 00:12:25 18/09/2022

Page View  794  
News


7 วิธีการดูแลเครื่องปั่นเหวี่ยงอย่างถูกต้อง
Date Time : 01/03/2018 - 31/03/2018
 
 

7 วิธีการดูแลเครื่องปั่นเหวี่ยงอย่างถูกต้อง

     การใช้งานเครื่องมือแพทย์ประเภทเครื่องปั่นเหวี่ยงนั้น ต้องการ การทำงานของเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเสมอ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของการวิเคราะห์ผลตามคู่มือการใช้งาน ดังนั้นการบำรุงดูแลรักษาที่ถูกวิธีจะช่วยทำให้เครื่องมือแพทย์อย่างเครื่องปั่นเหวี่ยงนั้นมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น มีระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพที่ดีอยู่เสมอ รวมไปถึงสามารถที่จะตรวจสอบได้ว่ามีอุปกรณ์ชิ้นใดที่เริ่มมีอาการผิดปกติและจะได้ทำการวางแผนการซ่อมแซมต่อไป สิ่งที่ควรปฏิบัติในการดูแลเครื่องปั่นเหวี่ยงมีดังต่อไปนี้

  1. ทำการสอบเทียบมาตรฐานของระบบปฏิบัติการ(Calibration) เริ่มตั้งแต่การตรวจวัดมาตรฐานของรอบหมุนว่าเป็นไปตามที่ระบบเครื่องแสดงผลไว้หรือไม่ ทำได้ด้วยการเทียบกับเครื่องวัดความเร็วรอบจากภายนอกที่ได้มาตรฐาน โดยความผิดพลาดนั้นอาจมีได้ไม่เกินร้อยละ 5 หากสูงกว่านั้น ต้องทำการปรับแต่งวงจรควบคุมความเร็วของตัวเครื่องมือแพทย์ให้อยู่ภายในมาตรฐานที่กำหนด
  2. สอบเทียบความถูกต้องของส่วนควบคุมเวลา(Timer) โดยทำการสอบเทียบกับนาฬิกาที่มีความแม่นยำสูง ทำการจับเวลาและเปรียบเทียบว่าใกล้เคียงกันในระดับความคลาดเคลื่อนไม่เกินรอยละ 10 หากเกินกว่ามาตรฐานก็จำเป็นต้องปรับแต่งวงจรควบคุมเช่นกัน หรือหากไม่ทันการใช้งานเครื่องมือแพทย์ก็สามารถใช้การชดเชยจากความผิดพลาดที่หาได้ไปก่อน แต่ก็ควรทำการปรับแต่งระบบโดยไว เพื่อให้เครื่องมือมีความเป็นมาตรฐานเช่นเดิม
  3. สอบเทียบความถูกต้องของเซ็นเซอร์ตรวจสอบอุณหภูมิ ด้วยการใช้เทอร์โมมิเตอร์ซึ่งควรจะได้ค่าตัวเลขที่ใกล้เคียงกัน หรือมีความคลาดเคลื่อนไม่เกินร้อยละ 10 หากเกินกว่านั้นต้องมีการปรับเปลี่ยนเซ็นเซอร์อุณหภูมิให้เรียบร้อย
  4. ตรวจสอบและดูแลระบบหัวเหวี่ยงด้วยการหล่อลื่นตลับลูกปืนของมอเตอร์ เปลี่ยนแปรงถ่านทุกครึ่งปีหรือ 1 ปีหากไม่ได้ใช้งานมาก หากไม่เปลี่ยนอาจเกิดปัญหาแปรงถ่านหมดในขณะกำลังเดินเครื่องทำให้การวิเคราะห์ไม่สามารถทำต่อไปได้
  5. ตรวจสอบระบบสายไฟว่ายังคงเป็นปกติดี หรือมีสายเส้นใดเกิดการสึกหรอ ขาด ไหม้ หากตรวจพบต้องรีบทำการเปลี่ยนทันที
  6. ทำความสะอาดสิ่งสกปรกที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน หรือฝุ่นละอองที่เกาะอยู่บนอุปกรณ์ด้วยน้ำอุ่นหรือน้ำกลั่น(DI-water)  หากพบเศษสิ่งแปลกปลอมใด ๆ ภายในตัวเครื่องให้ทำการคีบออกก่อนทำความสะอาดด้วย และทุกครั้งหลังการใช้งานให้ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ โดยเฉพาะหากตัวอย่างที่นำมาตรวจนั้นมาจากผู้ป่วยที่ติดเชื้อ
  7. เก็บรักษาหัวเหวี่ยงที่ไม่ได้ใช้งานหรือหัวเหวี่ยงสำรองไว้ในที่แห้ง เพื่อยืดอายุการใช้งานไว้ให้นานที่สุด

       การทำงานเกี่ยวกับเครื่องมือแพทย์ทุกครั้งควรใส่อุปกรณ์ป้องกันให้มิดชิดทั้งถุงมือยาง หน้ากากหรือชุดปฏิบัติการ นอกจากจะช่วยในเรื่องความปลอดภัยของผู้ใช้แล้วยังช่วยป้องกันสิ่งแปลกปลอมที่อาจเกิดจากการสัมผัสด้วยมือเปล่าได้อีกด้วย


© 2000-2008 CopyRight by EUROSCAN CO.,LTD.
Tel. (+66) 02-373-4906, (66) 02-373-6957  Fax. (66) 02-3739832  Website. www.aseanlab.com
disclaimer | privacy | contact us 

  Sale Login Warehouse Login Driver Login