Miss. Jitsupak Booncharoentaweesuk
ประสานงานขาย
02-308-2102 ต่อ 113
[email protected]
โรครากเน่าโคนเน่าในขนุน
เตือนภัยกษตรกรผู้ปลูกขนุน เฝ้าระวัง "โรครากเน่า?โคน?เน่า?ในขนุน"
Last Update : 17/10/2019 10:07:29
โรคสแคปในมะม่วง
โรคสแคปในมะม่วง? Mango scab สาเหตุ?เกิดจาก?เชื้อ?รา? Elsino?? mangiferae? Bitanc.? &? Jenkins
Last Update : 17/10/2019 10:07:08
หนอนเจาะฝักลายจุด
เกษตรกรผู้ปลูกถั่วฝักยาว เร่งเฝ้าระวัง หนอนเจาะฝักลายจุด (Bean pod-borer) เข้าทำลายถั่วฝักยาว ทั้งในระยะติดดอกและออกฝัก
Last Update : 17/07/2019 13:41:22
โรคราน้ำฝน
"โรคราน้ำฝน" ที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนที่กำลังมา คาดน่าจะมีความรุนแรงและพบมากในพื้นที่จังหวัดตอนบนของประเทศ ได้แก่ ลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยาและตาก
Last Update : 17/07/2019 11:40:46
เพลี้ยอ่อน
ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูฝน เกษตรกรในหลายพื้นที่เริ่มเตรียมแปลงเพาะปลูกผักนานาชนิด ทั้งช่วงนี้กระแสราคาผลผลิตพืชผักราคาต่อกิโลกรัมสูงขึ้น
Last Update : 17/07/2019 11:38:56
หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด
ปกป้องชัวร์แน่นอน ถ้าใช้ "เมอร์เล็ท" ป้องกันหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด
Last Update : 17/07/2019 11:36:31
หนอนชอนใบส้ม
เตือนเกษตรกรเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์หนอนชอนใบส้ม ระบาดทั่วไทยในระยะนี้
Last Update : 17/07/2019 11:36:16
หนอนกระทู้ในเผือก (หนอนกระทู้ผัก)
หนอนกระทู้ผัก (Common cutworm) ชื่อวิทยาศาสตร์ Spodoptera litura ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก เมื่อตัวหนอนฟักใหม่ๆ จะมีลำตัวใส สีเขียวอ่อน หัวดำ
Last Update : 17/07/2019 11:25:41
โรคไฟทอปธอร่าลงผลทุเรียน
โรคไฟทอปธอร่า หรือ โรครากเน่าโคนเน่า สาเหตุเกิดจาก : เชื้อรา Phytophthora palmivora
Last Update : 01/04/2019 15:52:32
ไรแดงระบาดในมันสำปะหลัง
เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังในทุกภูมิภาคของประเทศไทย เฝ้าระวังการเข้าทำลายของไรแดงชนิดต่างๆ
Last Update : 01/04/2019 15:49:59
โรคใบไหม้?ใน?ขึ้นฉ่าย?
โรคใบไหม้ในขึ้นฉ่าย สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Cercospora apii
Last Update : 01/04/2019 15:47:20
เพลี้ยหอยแดงแคลิฟอร์เนีย
เพลี้ยหอยแดงแคลิฟอร์เนีย? (California red scale/CRS) ชื่อ?วิทยา?ศาสตร์?: Aonidiella aurantii (Maskell, 1879) เพลี้ยหอยแดงแคลิฟอร์เนีย? เป็น?แมลงขนาดเล็ก สร้างความเสียหาย?แก่ส้มโดยเกาะติด?อยู่?ตามใบ กิ่งและผลส้ม ดูดกินน้ำเลี้ยงจากส้มและปล่อยน้ำลายที่เป็นสารพิษต่อส้ม หากเพลี้ยหอยแดงดูดกินน้ำเลี้ยงจากผลส้ม จะทำให้ผลเป็นหลุม ผิวส้มเสียหาย
Last Update : 01/02/2019 12:02:32
โรคใบไหม้มันฝรั่ง
โรคใบไหม้มันฝรั่ง (Late blight) เป็นโรคพืชที่สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันฝรั่งรุนแรงมาก มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora infestans
Last Update : 01/02/2019 12:00:29
แมลงเล็กจิ๋วเพลี้ยไฟพริก
เตือนภัยเงียบสวนทุเรียน >>> แมลงเล็กจิ๋วเพลี้ยไฟพริก เข้าทำลายดอกทุเรียน ควรเน้นพ่นสารป้องกันเพลี้ยไฟ ระยะดอกเริ่มขาว ก่อนดอกบาน การป้องกันและกำจัด ฉีดพ่น แอ็กมิดา70 (imidacloprid 70% WG) อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร ระยะดอกขาว สลับกับ ไฟว์โกร (fipronil 5% W/V SC) อัตรา 200 มล. ต่อน้ำ 200 ลิตร
Last Update : 01/02/2019 11:58:06
ผีเสื้อหนอนกอ
เตือนหนอนกอมาแล้ว เนื่องจากสภาพอากาศ?เข้าสู่ช่วงปลายฝน ต้นหนาว ยักษ์?ใหญ่? เริ่มพบการเข้าวางไข่ ของผีเสื้อหนอนกอ ในหลายพื้นที่นาข้าว ชาวนาควรเฝ้าระวังและหมั่นตรวจแปลงช่วงเย็นเป็นประจำ ยักษ์?ใหญ่? แนะนำสินค้าป้องกันกำจัดแม่ผีเสื้อหนอนกอ ด้วย แอ็กมิดา 70 อัตรา 5 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร และหว่าน จีโกร อัตรา 3-4 กก. ต่อไร่ ช่วงข้าว อายุ 25-30 วัน หรือหว่านพร้อมปุ๋ยรอบแรก หากพบการระบาดของหนอนกอข้าว ฉีดพ่นด้วย เมอร์?เล็ท อัตรา 50 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 100 มล. ต่อ ไร่
Last Update : 01/02/2019 11:54:30
แมลงหวี่ดำส้ม (Citrus blackfly)
แมลงหวี่?ดำ?ส้ม (Citrus blackfly) ชื่อ?วิทยา?ศาสตร์?: Aleurocanthus woglumi Ashby วงศ์?: Aleyrodidae อันดับ?: Hemiptera
Last Update : 22/11/2018 16:02:27
โรคใบไหม้มะเขือเทศ (Late blight)
โรคใบไหม้มะเขือเทศ (Late blight) สาเหตุเกิดจากเชื้อรา: Phytophthora infestans
Last Update : 22/11/2018 16:00:32
เพลี้ยหอยขาวทุเรียน
เพลี้ยหอยขาวทุเรียน (Snowy white durian scale) วงศ์ : Diaspididae อันดับ : Hemiptera #ห้ามพ่นสารกำจัด?แมลง?ต่อไปนี้ เมื่อพบการระบาดของ ?เพลี้ย?หอย?ขาว?ทุเรียน?
Last Update : 22/11/2018 15:42:24
หนอนกอแถบลายสีม่วง
พบหนอนกอระบาดในนาข้าวเขตจังหวัดภาคกลางและภาคเหนือตอนล่าง เข้าทำลายข้าวตั้งแต่ข้าวเล็กจนถึงระยะข้าวออกรวง
Last Update : 22/11/2018 15:38:09
แมลงบั่ว
เกษตรกร?ชาวนาควรเฝ้าระวัง #แมลงบั่วออกอาละวาด?นาข้าว
Last Update : 22/11/2018 15:29:00
แอ็กดิค
Brand : ยักษ์ใหญ่
Last Update : 10:30:18 30/01/2020
ออนเนอร์
Last Update : 12:04:56 01/04/2019
ไฟว์โกร
Last Update : 11:35:46 01/04/2019
แอ็กมิดา โกลด์
Last Update : 11:33:34 01/04/2019
คลอร์ดี
Last Update : 10:45:10 01/04/2019
โทน่า
Last Update : 11:56:06 06/12/2018
โกเมน
Last Update : 11:55:43 06/12/2018
แอ็กทีฟอน 52
Last Update : 11:55:24 06/12/2018
แอ็กดิค10
Last Update : 11:55:04 06/12/2018
แอ็กจี้
Last Update : 11:54:46 06/12/2018
แม็กซ์แคบ
Last Update : 11:54:25 06/12/2018
ฮัคล์
Brand : ยักษ์ใหญ่
Last Update : 11:54:02 06/12/2018
ซินโกร
Last Update : 11:53:22 06/12/2018
ซีโกร
Last Update : 11:53:04 06/12/2018
คอมโปเนนท์ บี
Last Update : 11:52:47 06/12/2018
โบแทรน 75
Last Update : 11:52:23 06/12/2018
แอ็กเบน เอฟ
Last Update : 11:51:58 06/12/2018
แอ็กท็อป35
Last Update : 11:51:00 06/12/2018
สโตรดี้
Last Update : 11:49:21 06/12/2018
สปาตั้น
Last Update : 11:48:59 06/12/2018

ยาจับใบคืออะไร?..........

Last Update : 11:02:18 16/11/2012
Page View (2171)
ยาจับใบคืออะไร?..........
โดยทั่วไปสารจับใบ จะต้องมีสารตัวนี้ครับ 1. สารลดแรงตึงผิวของน้ำ มีหน้าที่ทำให้น้ำที่ผสมปุ๋ย หรือยา ลดแรงตึงผิวลง ทำให้สามารถที่จะกระจายตัวไปเปียกบนใบและส่วนต่าย ๆ ของพืชได้ดีขึ้น 2 . สารตัวที่สองคือ สารที่ช่วยในก...
ารกระจายตัวของน้ำ ทำหน้าที่ในการแทรกซึมตามซอกมุมของพืชให้ยามีการสัมพัสกับส่วนต่าง ๆ ของพืชได้มากขึ้น อย่างในกรณีของหญ้าหรือ พืช ที่มีขนบางยี่ห้อที่ไม่มีสารตัวนี้ ก็จะทำให้ยาไม่สามารถซึมแทรกเข้าไปสัมผัสกับผิวที่แท้จริงของพืชได้ 3. สารที่ช่วยในการยึดเกาะพื้นผิว ทำหน้าที่เป็นเสมือนกาว ช่วยลดการชะล้างสารเคมีหรือปุ๋ยจากการรดน้ำตามปกติ หรือจากน้ำฝนครับ ถ้าหากว่ายาจับใบที่ท่านใช้อยู่มีสารตัวนี้ ควรจะระมัดระวังอย่าให้เกินกว่าที่ฉลากระบุ เพราะอาจจะได้ผลเสียมากกว่าผลดี เพราะจะทำให้สารเคมีที่ใช้ไปจับ เป็นคราบขาว อาจทำให้สังเคราะห์แสงได้น้อยลงได้ คุณสมบัติของสารจับใบ -ลดแรงตึงผิวของละอองน้ำยา ทำให้น้ำยาแบนและแผ่กว้าง -เพิ่มประสิทธิภาพของยาฆ่าแมลง,ยาฆ่าเชื้อรา,ปุ๋ย,และยากำจัดวัชพืช ทำให้จับใบแล้วดูดซึมเข้าใบหรือลำต้นได้ดี และเร็วขึ้น -ทำให้ละอองน้ำยามีขนาดเล็ก กระจายทั่วต้นได้ดี และแห้งเร็วกว่าปกติ -ลดการสูญเสียของสารเคมี เนื่องการการชะล้างของฝนหรือน้ำ   ช่วยรักษาอุปกรณ์พ่นยา ป้องกันการอุดตันของหัวฉีด -ลดต้นทุนการใช้สารเคมี เนื่องจากลดจำนวนครั้งในการใช้สาร และความเข้มข้นที่ต่ำ -ทำให้ต้นไม้ดูสวยงามไม่เป็นคราบที่เกิดจากปุ๋ยและยา
 
 
Update : 16/11/2555


 
© 2000-2008 CopyRight by AG-GRO (Thailand) Co.,Ltd.
Tel. 023082102  Fax. 023082487  Website. www.aggrogroups.com
disclaimer | privacy | contact us 

  Sale Login Warehouse Login Driver Login